การฟื้นฟูหลังเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว
อัพเดทล่าสุด: 23 เม.ย. 2025
103 ผู้เข้าชม
1. การฟื้นฟูหลังเหตุการณ์ (Recovery)
1.1 ตรวจสอบความเสียหาย
- ตรวจสอบสภาพอาคารและโครงสร้างโดยวิศวกร
- กำหนดจุดห้ามเข้า จัดทำป้ายแจ้งเตือนพื้นที่อันตราย
1.2 การฟื้นฟูการดำเนินงาน
- จัดทำแผนการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนลื่อง (Business Continuity Plan - BCP)
- จัดเตรียมพื้นที่ทำงานชั่วคราวหรือสำรองข้อมูลไว้ภายนอก
1.3 การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
- ดำเนินการช่วยเหลือเยียวยาพนักงานที่ได้รับผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจ
- ประสานงานบริษัทประกันภัยในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนให้กับองค์กรและผู้ได้รับผลกระทบ
(ทุกองค์กรต้องมีแผนการจัดการตามขั้น ERP / BCP / DRP / BRP) เพื่อให้สามารถนำมาใช้งานจริงได้
"เมื่อเกิดเหตุ บริษัทและทีมงานเราต้องรอด"
บทความที่เกี่ยวข้อง
แผ่นดินไหวไม่ใช่เพียงเหตุการณ์ธรรมชาติที่สร้างความเสียหายทางกายภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นบทเรียนอันทรงคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นถึงจุดอ่อนและโอกาสในการพัฒนาระบบความพร้อมรับมือภัยพิบัติขององค์กร การทบทวนเหตุการณ์หลังจากแผ่นดินไหวจึงเป็นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ เพื่อให้เราเข้าใจว่าอะไรทำได้ดี อะไรยังขาด และเราจะปรับปรุงอย่างไรให้พร้อมมากยิ่งขึ้นในอนาคต
23 เม.ย. 2025
เมื่อแผ่นดินไหวเกิดขึ้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการมีสติและรู้ว่าจะต้องทำอะไรเพื่อปกป้องตัวเองและคนรอบข้างในทันที เพราะทุกวินาทีล้วนมีความหมาย การตอบสนองอย่างถูกวิธีในขณะเกิดเหตุสามารถลดความเสี่ยงจากการบาดเจ็บหรือเสียชีวิตได้อย่างมาก
บทความนี้จะเน้นไปที่การ จัดการและปฏิบัติตัว “ในช่วงเวลาที่แผ่นดินไหวกำลังเกิดขึ้น” โดยเฉพาะ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่หลายคนอาจตกใจหรือสับสน เราจึงต้องมีแนวทางที่ชัดเจน
22 เม.ย. 2025